นสพ. ผู้จัดการ = ดาวสยาม
ไอ้ ว. วชิรเมธี = กิตติวุฒโท
หอยม่วง = ยานเกราะ
นักรบศรีวิชัย = นวพล กระทิงแดง
ตอนนี้ห่วงโซ่อีกหนึ่งข้อ ได้บังเกิดขึ้นมาแล้ว จากการเนรมิตรของไอ้คน(ใจ)มืดบอด
มันคือ...
ลูกเสือชาวบ้าน ในเวอร์ชั่น 2010 หรือที่เรียกอีกชื่อว่า อสป.
วุฒิฯผ่านกม.คลื่น-เปิดทหารคุม กสทช.
วุฒิสภา ไม่ถึงครึ่งผ่านร่างพ.ร.บ.จัดสรรคลื่นความถี่ฯ เพิ่มกสทช.ฝ่ายความมั่นคง ศาสนา จาก 11 เป็น 15 คน เปิดให้องค์กรรัฐ-เอกชนด้านความมั่นคงและบริหารราชการคัดเลือกกันเอง และต้องจัดคลื่นเพื่อความมั่นคงอย่างพอเพียง
30 พ.ค. 2553 ที่รัฐสภา มีการประชุมวุฒิสภาสมัยวิสามัญนัดพิเศษ โดยมีนางสาวทัศนา บุญทอง รองประธานวุฒิสภา เป็นประธานการประชุม โดยที่ประชุมได้พิจารณาร่างพ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่น ความถี่และกำกับกิจการ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.... ที่คณะกรรมการของวุฒิสภาพิจารณาเสร็จแล้ว
สาระสำคัญของร่างพ.ร.บ.นี้คือ การตั้งกรรมการในองค์กรอิสระ (กสทช.) เพื่อจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับดูแล ออกใบอนุญาต ทั้งกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม ซึ่งปัจจุบันธุรกิจที่เกี่ยวข้องมีมูลค่าหลายแสนล้านบาท จึงเป็นที่ถูกจับตาโดยเฉพาะประเด็นความพยายามเข้ามาเป็นกรรมการจัดสรรผล ประโยชน์ให้กับหน่วยงานของตน ทั้งหน่วยงานรัฐ กองทัพ และภาคธุรกิจ
ทั้งนี้ประเด็นสำคัญ คือมาตรา 6 ที่กำหนดสัดส่วนและองค์ประกอบของคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม (กสทช.) ที่วุฒิสภาแก้ไขจากเดิม 11 คน เป็น 15 คน โดยเพิ่มสัดส่วนกรรมการที่มีความเชี่ยวชาญหรือประสบการณ์ด้านความมั่นคงของ รัฐหรือการบริหารราชการ 2 คน และ การศาสนาและพัฒนาสังคมอีก 2 คน
ส่วนการเสนอรายชื่อเพื่อคัดเลือกกันเองเข้าเป็นกรรมการ กสทช. ได้แก้ไขโดยเปิดช่องให้สถาบันการศึกษาของรัฐและองค์กรเอกชนด้านความมั่นคง และบริหารราชการเสนอตัวแทนเข้าร่วมคัดเลือกกันเองด้วย องค์ประกอบเพิ่มเติมดังนี้ 1)องค์กรเอกชนด้านการศึกษา วัฒนธรรม หรือศาสนาหรือพัฒนาสังคม 2)สถาบันการศึกษาของรัฐด้านความมั่นคง 3)องค์กรเอกชนด้านความมั่นคง 4)สถาบันการศึกษาของรัฐด้านการบริหารราชการ และ 5)องค์กรเอกชนด้านการบริหารราชการ
สำหรับการแก้ไขแผนแม่บทการจัดสรรคลื่นความถี่ในชั้นวุฒิสภา ได้เพิ่มเติมให้ต้องกำหนดรายละเอียดคลื่นความถี่เพื่อใช้งานด้านความมั่นคง ของรัฐอย่างเพียงพอและเหมาะสมในร่างมาตรา 48
หลังจากที่ประชุมวุฒิสภาอภิปรายกันอย่างกว้างขวาง ได้ลงมติเห็นชอบด้วยคะแนน 59 ต่อ 26 คน ไม่ลงคะแนน 6 คน
ในวันต่อมา (1 มิ.ย.) นาย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น